วันศุกร์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2562

1.4หน่วยวัด

หน่วยและการวัด
การกำหนดมาตรฐานเพื่อเป็นหน่วยกลางทางวิทยาศาสตร์ เรียกว่า หน่วยระหว่างชาติ ( International System of Units หรือ  System - International  d' Unites ) และกำหนดให้ใช้อักษรย่อแทนชื่อระบบนี้ว่า  "SI" หรือหน่วยเอสไอ (  SI  unit )  เพื่อใช้ในการวัดทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระบบหน่วยระหว่างชาติ หรือเอสไอ ประกอบด้วย หน่วยฐาน หน่วยเสริม หน่วยอนุพัทธ์  และคำอุปสรรค ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. หน่วยฐาน (Base Units) เป็นหน่วยหลักของเอสไอ ทั้งหมด หน่วย ดังตาราง
ตารางชื่อและสัญลักษณ์ของหน่วยฐาน
ปริมาณ
ชื่อหน่วย
สัญลักษณ์
ความยาว (Length)
มวล (Mass)
เวลา (Time)
กระแสไฟฟ้า (Electric current)
อุณหภูมิอุณหพลวัติ
(Thermodynamic temperature)
ปริมาณของสาร (Amount of Substance)
ความเข้มของการส่องสว่าง
(Luminous  intensity)
เมตร
กิโลกรัม
วินาที
แอมแปร์
เคลวิน

โมล

แคนเดลา
m
kg
s
A
K

mol

cd
2. หน่วยเสริม (Suppilmentary Units)
หน่วยเสริมของระบบ SI  มี หน่วย คือ
1. เรเดียน (Radian  : rad)   เป็นหน่วยวัดมุมในระนาบ
                                                            กำหนดให้
                                                  r   คือ รัศมีของวงกลม
            
                      q  คือ มุมในระนาบที่จุดศูนย์กลางของวงกลม                     s  คือ ความยาวส่วนโค้งของวงกลมที่รองรับในระนาบ q

                       โดย  q  มีหน่วยเป็นเรเดียน ( rad )
                    มุม เรเดียน คือ มุม q  ที่รองรับความยาวโค้ง  s  ที่มีความยาวเท่ากับรัศมีของวงกลม

2. สตีเรเดียน (Steradian : sr) เป็นหน่วยวัดมุมตัน
                                      กำหนดให้
              P   คือ  จุดศูนย์กลางของทรงกลม
              R   คือ  รัศมีของทรงกลม
              q   คือ มุมตัน มีรูปร่างเป็นวงกลมที่จุดศูนย์กลางของทรงกลม
              A   คือ พื้นที่ผิวของทรงกลมที่รองรับมุมตัน q
                                         โดย  q   มีหน่วยเป็นสตีเรเดียน  (sr)
                                                            มุม สตีเรเดียน คือ มุม ที่รองรับพื้นที่ผิวของทรงกลม A ที่มีขนาดเท่ากับขนาดของรัศมีของทรงกลมกำลังสอง
3. หน่วยอนุพันธ์ (Derived Units)
เป็นหน่วยซึ่งมีหน่วยฐานหลายหน่วยมาเกี่ยวข้องกัน เช่น หน่วยของความเร็วเป็น เมตร/วินาที ซึ่งมีเมตรและวินาทีเป็นหน่วยฐาน หน่วยนี้มีอยู่หลายหน่วยและบางหน่วยก็ใช้ชื่อและสัญลักษณ์เป็นพิเศษ เช่น     
                   ความเร็ว          มีหน่วยเป็น       เมตรต่อวินาที    ( m/s  )
                   แรง               มีหน่วยเป็น       กิโลกรัม เมตรต่อวินาทีกำลังสอง ( kg.m/s2 )  หรือนิวตัน ( N )
                   กำลัง             มีหน่วยเป็น       จูลต่อวินาที( J/s ) หรือ วัตต์ ( w )

ตัวพหุคูณและคำอุปสรรค
ตัวพหุคูณ คือ 10n เป็นการเขียนเพื่อลดรูปปริมาณที่ใหญ่มากๆ หรือเล็กมากๆ  เช่น
40000000000           m  = 4 x 1010    m
0.04                                     m =  4/100  =  4 x 10-2  m

คำอุปสรรค คือ สัญลักษณ์แทนค่าตัวพหุคูณบางค่า เช่น
k ( กิโล )         = 103
                    m ( ไมโคร )      = 10-6
ตาราง ตัวพหุคูณ และคำอุปสรรค

ตัวพหุคูณ
คำอุปสรรค
สัญลักษณ์
1012
109
10610310210110-110-210-310-610-910-12
เทระ ( tera )
จิกะ ( giga )เมกะ ( mega )กิโล ( kilo )เฮกโต ( hecto  ) เดคา ( deca )เดซิ ( deci )เซนติ ( cente )มิลลิ ( milli )ไมโคร( micro )นาโน ( nano )พิโก ( pico )
T
GMKhdadcmmnp


            การใช้ประโยชน์จากตาราง หน่วยต่างๆที่อยู่ในตารางคือหน่วยที่ควรจำได้ นอกเหนือจากนั้นควรหาค่าความสัมพันธ์โดยใช้หน่วยที่มีอยู่ในตารางหาค่าความสัมพันธ์ 
จึงจะทำให้ตารางนี้
วัดความยาวระบบเมตริก
วัดความยาวระบบอังกฤษ
วัดความยาวในมาตราไทย
1 ซม.             = 10           มิลลิเมตร
1 เมตร  100 ซม.     
1 กม.   1,000         เมตร
            1 ฟุต              12  นิ้ว
            3 ฟุต =    1   หลา
           1 ไมล์ =    1,760 หลา
        12 นิ้ว      =    1   คืบ
         2   คืบ     =    1    ศอก
        4   ศอก    =    1    วา
        20 วา       =    1    เส้น
        400 เส้น   =    1    โยชน์
กำหนดเทียบ                 1 นิ้ว     =      2 .54  ซม.     (ค่าประมาณ)
      1 ไมล์   =     1.6093   กิโลเมตร,       1 วา      =     2       เมตร
      1 เฮกตาร์ 10,000 ตารางเมตร
มาตราไทย            1 ไร่      =      4      งาน, 1   งาน  100  ตารางวา, 1 เอเคอร์ 2 .529 ไร่(ค่าประมาณ)
1 ถัง  20   ลิตร  =    15 กก.,      1 เกวียน  100    ถัง,       1 กระสอบ 100    กิโลกรัม
หน่วยวัดปริมาตรระบบเมตริกที่ควรรู้  1 ลิตร 1,000 มิลลิลิตร, 1 มิลลิลิตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร
หน่วยวัดปริมาตรในระบบอังกฤษที่ควรรู้  3 ช้อนชา 1 ช้อนโต๊ะ,       16 ช้อนโต๊ะ 1 ถ้วยตวง
                                                    1 ถ้วยตวง 8 ออนซ์       เทียบ 1 ช้อนชา 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร
หน่วยวัดน้ำหนัก       1 กิโลกรัม 1,000 กรัม, 1 กรัม 1,000 มิลลิกรัม, 1 ตัน 1,000 กิโลกรัม
                                 หน่วยเทียบเมตริกกับระบบอังกฤษ  1 ปอนด์ 0.4536 กิโลกรัม
หน่วยเวลา   1 วัน 24 ชม. , 1 ชม. 60 นาที, 1 นาที 60 วินาที, 1 ปี 365 วัน หรือ 366 วัน,
                     1 ทศวรรษ 10 ปี, 1 มิลเลเนียม 1,000 ปี

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ข้อสอบ Pat